Franchise Development

สรุปแฟรนไชส์ปี 2563 และแนวโน้มปี 2564 (2021)

แฟรนไชส์ในปี 2563 ได้รับความสนใจมากสวนกระแสวิกฤติเศรษฐกิจ และแนวโน้ม แฟรนไชส์ 2564 แฟรนไชส์จะช่วยส่งเสริมให้เศรษฐกิจปรับตัวดีขึ้น ตามนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ ส่งเสริมให้มีการจ้างงาน มีการลงทุนภายในประเทศ และมีเงินหมุนเวียน แฟรนไชส์ไทยมีโอกาสขยายต่างประเทศเพิ่มขึ้น และมีแฟรนไชส์ต่างประเทศเปิดตัวในไทยอีกหลายแบรนด์ปีนี้

การแข่งขันในธุรกิจแฟรนไชส์ พื้นที่ในการเปิดสาขา

การแข่งขันในธุรกิจแฟรนไชส์

ปัญหาการแข่งขันในธุรกิจแฟรนไชส์ ไม่เพียงจะเกิดกับคู่แข่งขันในแบรนด์อื่น ๆ แต่อาจจะเกิดขึ้นกับ แฟรนไชส์ซอร์ และแฟรนไชส์ซี ในกรณีเปิดร้านสาขาดำเนินการในพื้นที่เดียวกัน หรือแฟรนไชส์ซอร์อนุญาตให้มีร้านสาขาแฟรนไชส์จำนวนมากอยู่ใกล้เคียงกัน ดังนั้น คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า ได้กำหนด แนวทางพิจารณาการปฏิบัติทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมในธุรกิจแฟรนไชส์ เพื่อสร้างความยุติธรรมในการดำเนินงานร่วมกัน

ตอบคำถามนี้ก่อนขยายแฟรนไชส์

ขยายแฟรนไชส์ ต้องตอบคำถามนี้ก่อน

ธุรกิจจะขยายแฟรนไชส์ ต้องดูความพร้อมก่อนเพื่อสามารถสนับสนุนการทำงานของแฟรนไชส์ซี ให้สามารถทำธุรกิจได้ตามมาตรฐานและเติบโตได้ตามคาดหวัง ดังนั้น จงตอบคำถามเหล่านี้ ก่อนขยายแฟรนไชส์

กลยุทธ์การเลือกงานแฟรนไชส์ต่างประเทศ ไตรมาสแรกปี 2020

หนึ่งกลยุทธ์การสร้างแบรนด์แฟรนไชส์ ให้เป็นที่รู้จักในกลุ่มประเทศเป้าหมายคือ การออกงานแสดงธุรกิจแฟรนไชส์ ซึ่งแต่ละไตรมาส งานแฟรนไชส์ต่างประเทศจะจัดกันหลายประเทศ เช่น ในไตรมาสแรก จะมีงานแฟรนไชส์ ที่ไต้หวัน พม่า และเกาหลี เป็นต้น ธุรกิจจะต้องมีกลยุทธ์ในการเลือกให้เหมาะสมกับประเภทธุรกิจ

ข้อได้เปรียบในการทำธุรกิจแฟรนไชส์

แฟรนไชส์ คือ กลยุทธ์ในการต่อยอดธุรกิจที่ได้พิสูจน์แล้วว่าประสบความสำเร็จแล้ว การขยายสาขาคือการสร้างความ ได้เปรียบ ในการแข่งขันมากขึ้น การเข้าถึงตลาดได้รวดเร็ว เพิ่มกระแสเงินสดจากช่องทางรายได้ใหม่ เช่น ค่าธรรมเนียมแฟรนไชส์ ค่ารอยัลตี้ กำไรจากการขายวัตถุดิบ

กระบวนการตรวจมาตรฐานคุณภาพแฟรนไชส์ไทย

กระบวนการตรวจ มาตรฐาน แฟรนไชส์ จะช่วยยกระดับการทำงานของแฟรนไชส์ซอร์ และดูแลแฟรนไชส์ซีสามารถทำงานได้ตามเป้าหมาย ด้วยหลักการ Plan Do Check Act

5 ข้อแฟรนไชส์ซอร์ต้องมี แฟรนไชส์ซีควรได้

แฟรนไชส์ซอร์ จะต้องมี แผนธุรกิจ ระบบการสนับสนุน ระบบการตลาด ระบบเทคโนโลยี และเครือข่ายแฟรนไชส์ซี เพื่อสร้างกำลังทีมงานเข้มแข็ง ต้องมี แผนการอบรม ต่อเนื่อง

มาตรฐานแฟรนไชส์ กับการสร้างความสัมพันธ์

มาตรฐานแฟรนไชส์ ที่ผู้ประกอบการแฟรนไชส์มองเป็นอันดับแรกคือระบบการปฏิบัติงาน มองถึงคุณภาพของสินค้าและมาตรฐานการให้บริการ มองข้ามการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างแฟรนไชส์ซอร์ (เจ้าของแบรนด์) และแฟรนไชส์ซี (ผู้ซื้อสิทธิแฟรนไชส์) คือเกณฑ์ มาตรฐานแฟรนไชส์ ที่สำคัญมากเช่นกัน

เทคนิคการซื้อ แฟรนไชส์ (วิดีโอ)

เทคนิคการซื้อ แฟรนไชส์ จะช่วยให้ผู้ประกอบการ หรือนักลงทุน ลดความเสี่ยงในการลงทุน และได้รับผลตอบแทนจากการดำเนินธุรกิจตามความคาดหวัง