Thai_Page

กระบวนการตรวจมาตรฐานคุณภาพแฟรนไชส์ไทย

กระบวนการตรวจ มาตรฐาน แฟรนไชส์ จะช่วยยกระดับการทำงานของแฟรนไชส์ซอร์ และดูแลแฟรนไชส์ซีสามารถทำงานได้ตามเป้าหมาย ด้วยหลักการ Plan Do Check Act

5 ข้อแฟรนไชส์ซอร์ต้องมี แฟรนไชส์ซีควรได้

แฟรนไชส์ซอร์ จะต้องมี แผนธุรกิจ ระบบการสนับสนุน ระบบการตลาด ระบบเทคโนโลยี และเครือข่ายแฟรนไชส์ซี เพื่อสร้างกำลังทีมงานเข้มแข็ง ต้องมี แผนการอบรม ต่อเนื่อง

มาตรฐานแฟรนไชส์ กับการสร้างความสัมพันธ์

มาตรฐานแฟรนไชส์ ที่ผู้ประกอบการแฟรนไชส์มองเป็นอันดับแรกคือระบบการปฏิบัติงาน มองถึงคุณภาพของสินค้าและมาตรฐานการให้บริการ มองข้ามการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างแฟรนไชส์ซอร์ (เจ้าของแบรนด์) และแฟรนไชส์ซี (ผู้ซื้อสิทธิแฟรนไชส์) คือเกณฑ์ มาตรฐานแฟรนไชส์ ที่สำคัญมากเช่นกัน

เทคนิคการซื้อ แฟรนไชส์ (วิดีโอ)

เทคนิคการซื้อ แฟรนไชส์ จะช่วยให้ผู้ประกอบการ หรือนักลงทุน ลดความเสี่ยงในการลงทุน และได้รับผลตอบแทนจากการดำเนินธุรกิจตามความคาดหวัง

วิดีโอ “Business Talk” ตอน “ภาพรวมธุรกิจแฟรนไชส์ประเทศไทย” 2559

ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เชิญคุณ เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท จีโนซิส จำกัด ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านแฟรนไชส์ ดำเนินรายการ Business Talk ตอน ภาพรวมธุรกิจ แฟรนไชส์ ประเทศไทย (ออกอากาศผ่านทางเวปไซต์ www.bangkokbanksme.com และ Facebook และ YouTube เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2559)

แฟรนไชส์ซี จัดการเงินให้อยู่รอด และเติบโตอย่างไร (วิดีโอ)

ธุรกิจในระบบ แฟรนไชส์ ได้จัดระเบียบการทำงานให้ผู้ซื้อสิทธิ หรือแฟรนไชส์ซี สามารถดำเนินงานได้เอง เช่น จัดการเงิน จะมีระบบควบคุมและติดตาม แต่แฟรนไชส์ซี ต้องมีวินัย และประเมินตนเองเสมอ

วิดีโอ SME Clinic การพัฒนาระบบแฟรนไชส์ และกรณีศึกษา

ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เชิญ คุณ เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท จีโนซิส จำกัด และที่ปรึกษาด้านกลยุทธ์ การเงินธุรกิจ และแฟรนไชส์ ดำเนินรายการ SME Clinic 8 ตอน เกี่ยวกับการพัฒนาธุรกิจในระบบแฟรนไชส์ นำเสนอผ่าน Facebook และ Youtube ช่อง Bangkok Bank SME

ทำไมต้องมี แผนธุรกิจ (Business Plan)

ธุรกิจของคุณมีแผนธุรกิจหรือไม่ มั่นใจกับแผนธุรกิจที่มีแค่ไหน

ต้องการคำแนะนำในการจัดทำแผนธุรกิจ ติดต่อ contact@gnosisadvisory.com

วิเคราะห์สินเชื่อ คุ้มค่า

ขอสินเชื่อธุรกิจ ต้องรู้จัก 5ค. (ตอนที่ 1 คุ้ม)

เมื่อธุรกิจต้องการเงินทุนเพิ่มเติมเพื่อขยายกิจการ เพื่อใช้ซื้อวัตถุดิบ เพื่อแก้ปัญหาสภาพคล่อง หรือแม้กระทั่งเริ่มต้นธุรกิจใหม่ก็ตาม ในขณะที่เงินทุนจากเงินออมส่วนตัว และจัดหามาจากคนใกล้ชิดรวมกันแล้วยังไม่เพียงพอต่องบประมาณที่คาดหวังไว้ ทางเลือกหนึ่งที่ผู้ประกอบการมองหาคือ ขอสินเชื่อจากธนาคาร จากสถาบันการเงินต่างๆ แล้วคุณเคยมีประสบการณ์การขอสินเชื่อหรือยัง

ขอสินเชื่อธุรกิจ ต้องรู้จัก 5ค. (ตอนที่ 2 ค้ำ)

หลังจากที่สถาบันการเงินวิเคราะห์ว่าธุรกิจของคุณ หรือโครงการที่จะขอสินเชื่อสนับสนุนนั้น มีความเป็นไปได้ มีความคุ้มค่าน่าลงทุน และแสดงให้เห็นความสามารถในการชำระคืนเงินกู้ได้แล้ว ดังที่กล่าวไปแล้วในตอนที่ 1 “คุ้ม” สถาบันการเงินหรือธนาคารจะพิจารณาการประกันความเสี่ยงการให้สินเชื่อโดยการขอให้นักลงทุนนำหลักทรัพย์มาค้ำประกันวงเงินสินเชื่อ (Collateral)